ภาพและความหมายจิตรกรรมภาพโนราบนฝาผนังอุโบสถวัด
วันพุธที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2557
ภาพและความหมายจิตรกรรมภาพโนราบนฝาผนังอุโบสถวัด
วันจันทร์ที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2557
ว่าด้วยเรื่องของ เทริดโนรา
ว่าด้วยเรื่องของ เทริดโนรา
การแสดงโนรา หรือมโนราห์
ในปัจจุบันนิยมนำมาประยุกต์ใช้ในพิธีเปิดงานต่างๆ หรือหลักๆเลยคือใช้ในการแก้บน (ทางใต้เรียกว่าแก้เหมรย)
ซึ่งผสมผสานกับการละเล่นในยุคไฮเทค ในขณะเดียวกันการแสดงโนรามีเอกลักษณ์ที่เห็นเด่นชัดและไม่เหมือนใครคือการแต่งตัวของผู้แสดงที่ต้องมีเครื่องประดับที่สวยงามทั้งตัว
และที่สำคัญที่จะให้ท่านผู้อ่านได้รับทราบว่าเครื่องแต่งตัวโนราที่สามารถผลิตเป็นสินค้าสร้างรายได้อย่างไม่น่าเชื่อนั่นก็คือ
“เทริด” ที่เป็นเครื่องสวมศีรษะของโนรา
ซึ่งถือว่าศักดิ์สิทธิ์และเชื่อว่าเป็นที่สถิตของครูโนรา มีลักษณะเป็นเทริดทรงสูง
โนราคล้องหงส์
การรำคล้องหงส์ หรือ
โนราคล้องหงส์
โนราโรงแข่ง (โนราประชันโรง)
โนราโรงแข่ง (ประชันโรง)
การแข่งโนรา หรือ ประชันโรง
เพื่อจะพิสูจน์ว่าใครเล่นหรือรำดีกว่า มีศิลปะในการรำเป็นอย่างไรการว่ามุตโต
(กลอนสด) ดีกว่ากัน ถ้าโรงไหนดีกว่าโรงนั้นก็จะมีคนดูมาก และเป็นผู้ชนะ
การแข่งมโนรานี้มีพิธีที่คณะมโนราต้องทำมาก กลางคืนก่อนแข่งมีการไหว้ครูเชิญครู
แล้วเอาเทริดผูกไว้ที่เพดานโรง เอาหมาก ๓ คำ และจุดเทียนตามเอาไว้
จากนั้นหมอก็ทำพิธีปิดตู (ประตู) กันตู (ประตู) โดยชักสายสิญจน์กันไว้
หมอและคณะจะไม่นอนกันทั้งคืน หมอทำพิธีประพรมน้ำมนต์ไปเรื่อย
(หมอประจำโรงต้องจ้างเป็นพิเศษไปกับคณะ สมัยก่อนเมื่อมีการแข่งครั้งหนึ่งหมอจะได้รับค่าจ้าง
๑ เหรียญ หรือ ๕๐ เบี้ย)
วันอาทิตย์ที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2557
การออกพราน โนรา
การรออกพรานโนรา
การออกพราน พรานเป็นตัวตลกของโนรา
เมื่อออกรำจะต้องสวมหน้ากากเรียกว่า " หน้าพราน "
ท่ารำของพรานนั้นจะเป็นท่ารำที่ตลก และแสดงออกถึงความมั่นคงในท่ารำ เครื่องดนตรีจะตีเนื่องอย่างหนักแน่น ทำนองเสียงดนตรีการออกพราน เครื่องจะตีว่า
ฉับ เทิง ฉัย ฉับ เทิง ไปเรื่อย ๆ ท่ารำของพรานไม่มีท่ารำที่แน่นอน ขึ้นอยู่กับความสามารถของพรานแต่ละคน
แต่ละต้องมีท่ารำพื้นฐาน ดังนี้ ย่อตัวรำ หลังแอ่น ยื่นอกไปด้านหน้ามาก ๆ
นิ้วมือที่รำใช้ข่างละ ๑-๒ นิ้ว นิ้วอื่น ๆ ต้องกำไว้ให้หมด
การเดินอย่างรีบร้อนต้องเดินไปข้างหน้า ๒ ก้าวและถอยหลัง ๑ ก้าว
ท่ารำของพรานมีแปลก ๆ ออกไป เช่น ทำให้ท้องป่องผิดปกติ อาจจะป่องไปด้านซ้ายบ้าง
ด้านขวาบ้าง หรือทำให้กล้ามเนื้อหน้าท้องเคลื่อนไหวเป็นลอนคลื่น เป็นต้น
รำโนราเฆี่ยนพรายและรำโนราเหยียบลูกมะนาว
รำโนราเฆี่ยนพรายและรำโนราเหยียบลูกมะนาว
รำโนราเฆี่ยนพรายและรำโนราเหยียบลูกมะนาว
เป็นการรำประกอบพิธีไสยศาสตร์ของโนรา
รำเฉพาะโอกาสที่มีการแข่งขันกับโนราคณะอื่นเท่านั้น
เป็นทำนองตัดไม้ข่มนามโนราฝ่ายตรงข้ามและเป็นการสร้างขวัญและกำลังใจให้กับคณะของต้น การแข่งขันโนราในสมัยก่อน
โนราแต่ละฝ่ายจะพยายามอย่างเต็มที่เพื่อเอาชนะฝ่ายตรงข้ามให้ได้
นอกจากจะเอาชนะกันด้วยความสามารถในการแสดงแล้วมีทางอื่นที่จะช่วยให้เอาชนะได้ก็จะทำ
โดยเฉพาะการใช้ไสยศาสตร์ การรำเฆี่ยนพรายก็เป็นส่วนหนึ่งของพิธีไสยศาสตร์
ผู้รำคือหัวหน้าคณะหรือที่เรียกว่า "โนราใหญ่"
ขณะรำจะมีหมอไสยศาสตร์ที่เรียกว่า "หมอกบโรง" ทำพิธีไปพร้อมๆกัน
โนราลาภ เสียงทอง หรือ นายลาภ นรสิงห์
วันเสาร์ที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2557
สุขสันต์วันปีใหม่ไทย พุทธศักราช ๒๕๕๗ วันมหาสงกรานต์ //เว็บไซต์ศาสตร์แห่งครูหมอโนรา http://krunora.blogspot.com/
สุขสันต์วันปีใหม่ไทย พุทธศักราช ๒๕๕๗
วันมหาสงกรานต์ //เว็บไซต์ศาสตร์แห่งครูหมอโนรา
http://krunora.blogspot.com/
https://www.facebook.com/groups/320784757950061/
วันมหาสงกรานต์ //เว็บไซต์ศาสตร์แห่งครูหมอโนรา
http://krunora.blogspot.com/
https://www.facebook.com/groups/320784757950061/
สุขสันต์วันปีใหม่ไทย พุทธศักราช ๒๕๕๗
วันมหาสงกรานต์ //เว็บไซต์ศาสตร์แห่งครูหมอโนรา
http://krunora.blogspot.com/
https://www.facebook.com/groups/320784757950061/
วันมหาสงกรานต์ //เว็บไซต์ศาสตร์แห่งครูหมอโนรา
http://krunora.blogspot.com/
https://www.facebook.com/groups/320784757950061/
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)