วันเสาร์ที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

พิธีกรรมการรำถีบหัวควาย ของโนราโรงครู

พิธีกรรมการรำถีบหัวควาย
ของโนราโรงครู

โดยคุณ เธียรชัย อิศรเดช

วันศุกร์ที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

วัฒนธรรมด้านดนตรีโนรา

วัฒนธรรมด้านดนตรีโนรา
โดยคุณสิวาวุธ  สุทธิ

วันพฤหัสบดีที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

ความเชื่อเรื่องครูหมอโนราและตายาย

ความเชื่อเรื่องครูหมอโนราและตายาย
โดยคุณ เธียรชัย อิศรเดช

วันพุธที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

โนราพิธีกรรมกับพระสุธนชาดก

โนราพิธีกรรมกับพระสุธนชาดก
โดยคุณ เธียรชัย อิศรเดช

วันอังคารที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

ปฏิสังสรรค์คนกับวิญญาณ (โนรา)

ปฏิสังสรรค์คนกับวิญญาณ (โนรา)
โดยคุณ เธียรชัย อิศรเดช

โนรา สัญลักษณ์ พิธีกรรม อัตลักษณ์คนใต้

โนรา สัญลักษณ์ พิธีกรรม อัตลักษณ์คนใต้
โดยคุณสิวาวุธ  สุทธิ

วันอาทิตย์ที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

ความสัมพันธ์แบบครู ศิษย์ และครอบครัวโนรา

ความสัมพันธ์แบบครู ศิษย์ และครอบครัวโนรา
โดยคุณนภสมน นิจรันดร์

วันเสาร์ที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

โนราบันเทิง

โนราบันเทิง
โดยคุณนภสมน นิจรันดร์

วันศุกร์ที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

โนราโรงครู

โนราโรงครู
โดยคุณนภสมน นิจรันดร์

วันพฤหัสบดีที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

โอกาส สถานที่ และ ผู้ชม โนรา

โอกาส สถานที่ และ ผู้ชม โนรา
โดยคุณนภสมน นิจรันดร์

วันพุธที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

คำศัพท์เฉพาะของโนรา

คำศัพท์เฉพาะของโนรา
โดยคุณสิวาวุธ  สุทธิ

วันจันทร์ที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

ภาพลักษณ์ของโนรา

ภาพลักษณ์ของโนรา
โดยคุณ เธียรชัย อิศรเดช

วันเสาร์ที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

ความเชื่อเรื่องวิญญาณ ในวัฒนธรรมโนรา

ความเชื่อเรื่องวิญญาณ
ในวัฒนธรรมโนรา

โดยคุณ เธียรชัย อิศรเดช

วันพฤหัสบดีที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

ภูมิหลังของโนรา

ภูมิหลังของโนรา
โดยคุณ เธียรชัย อิศรเดช

วันจันทร์ที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

ฤทธิ์ตายาย (โนรา)

ฤทธิ์ตายาย (โนรา)
โดยคุณ เธียรชัย อิศรเดช

การปรับเปลี่ยนของโนรายุคใหม่

การปรับเปลี่ยนของโนรายุคใหม่
โดยคุณ เธียรชัย อิศรเดช

กลอนโนราและเครื่องแต่งกายโนรา

กลอนโนราและเครื่องแต่งกายโนรา
โดยคุณ เธียรชัย อิศรเดช

กระบวนการในการรำโนรา

กระบวนการในการรำโนรา
โดยคุณ เธียรชัย อิศรเดช

วันพฤหัสบดีที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

พิธีกรรมโนราโรงครู


พิธีกรรมโนราโรงครู
                  “โนราโรงครูเป็นพิธีกรรมการเชิญวิญญาณบรรพบุรุษที่เป็นโนรา  ซึ่งเรียกว่า ตาหลวงหรือ ตายายโนรามายังโรงโนราเพื่อรับการแสดงความเคารพอันเป็นการแสดงมุทิตาจิตของลูกหลานที่มีต่อบรรพบุรุษ หรือ เพื่อประกอบการพิธีแก้เหมรย (แก้บน) พิธีการครอบเทริด พิธีตัดจุก พิธีผูกผ้าใหญ่ ผู้ทำหน้าที่ในการประกอบพิธีกรรมคือ นายโรงโนราหรือ โนราใหญ่และในพิธีกรรมดังกล่าวก็จะเชิญวิญญาณบรรพบุรุษมาเข้าทรงด้วยลูกหลานโนรา มีความเชื่อและความศรัทธาเกี่ยวกับครูหมอโนรามาก ครูหมอโนราหมายถึง ครูต้น คือ ตายายโนราหรือ ตาหลวงโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ครูต้น ได้แก่ แม่ศรีมาลา  พ่อเทพสิงขร พระยาสายฟ้าฟาด ตาพรานบุญ ตาหลวงคง ตาพรานอินทร์ นางแขนอ่อน นางเภา   ตลอดจนบรรพบุรุษโนราของตนเองที่ล่วงลับ ไปแล้วว่าเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่มีฤทธิ์ทั้งให้คุณและให้โทษแก่ลูกหลาน และมีความผูกพันกับลูกหลานที่มีเชื้อสายโนรา  ครูหมอโนรามีหน้าที่ดูแลลูกหลานให้อยู่เย็นเป็นสุข คอยปกปักรักษาให้มีชีวิตอยู่อย่างปลอดภัยมีความมั่งมีศรีสุข ดังนั้นลูกหลานเองจะต้องตอบแทนบุญคุณโดยการถวายเครื่องเซ่นไหว้และเชิญครูหมอโนรามาเข้าทรงในพิธีโนราโรงครูปีละหนึ่งครั้ง หรือ ๓ ปีครั้ง หรือแล้วแต่ความเหมาะสมเนื่องจากการประกอบพิธีกรรม

วันพุธที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

ความเชื่อในพิธีกรรมโนราโรงครู


ความเชื่อในพิธีกรรมโนราโรงครู
                 ความเชื่อเกี่ยวกับครูหมอโนรา ครูหมอโนรา คือ บูรพาจารย์โนรา และบรรพบุรุษของโนราที่ล่วงลับไปแล้ว บางแห่งเรียกว่า ตายายโนรามี พระเทพสิงหร ขุนศรีศรัทธา พระม่วงทอง แม่ศรีมาลา แม่นวลทองสำลี โนราเชื่อว่า ครูหมอโนรา หรือตายายโนรามีความผูกพันกับลูกหลานและผู้มีเชื้อสายโนรา หากไม่เคารพบูชา หรือเซ่นไหว้จะถูกลงโทษ จะแก้ได้ด้วยการบนบานบวงสรวง ถ้าจะให้ช่วยเหลือในกิจบางอย่างก็บนบานได้

FACEBOOK กลุ่มศาสตร์แห่งครูหมอโนรา ศูนย์รวมศิลปินโนราภาคใต้

 คลิ๊กที่รูปนี้เพื่อเข้าสู่ กลุ่มของเฟสบุ๊ค ของ ศาสตร์แห่งครูหมอโนรา (ศูนย์รวมศิลปินโนราจำนวนมากที่สุด)